ปัญหาภิกษุณี: บททดสอบสังคมไทย

... เรื่องที่คิดว่าน่าจะมาพูดมี 3 ประเด็น

  1. เราต้องเริ่มต้นด้วยการตั้งจิตเมตตา ... เราก็มีความปรารถนาดี  คือ อยากให้ผู้หญิงมีโอกาส มากขึ้น   ที่จะปฏิบัติเพื่อบรรลุผล ... ให้เต็มศักยภาพของตน
  2. ความปรารถนาดีและความต้องการของเรานี้ได้แค่ไหน ก็ต้องขึ้นกับหลักการ เราต้องดูว่าหลักการเป็นอย่างไร พระพุทธเจ้าทรงมีพุทธบัญญัติไว้อย่างไรในเรื่องการบวชเป็นภิกษุณี เมื่อหลักการเป็นอย่างนี้ ทำได้เท่าไหนก็เท่านั้น
  3. เรื่องเกี่ยวกับสิ่งดีที่เรามีอยู่แล้ว ซึ่งบางทีเราก็มองข้ามไป ไม่เอาใจใส่ ... คือการที่สังคมไทยเรามีแม่ชีสืบมา ... ก็เป็นเครื่องหมายที่บอกให้เรารู้ว่าสังคมไทยเราเคยพยายามหาช่องทาง ให้ผู้หญิงได้มีโอกาสในการแสวงวิเวกหาความสงบในการมีชีวิตแบบผู้ปลีกตัวออกจากสังคม แล้วบำเพ็ญเพียรในการปฏิบัติในทางจิตภาวนา และปัญญาภาวนา ...

...สิ่งที่มีอยู่แล้วนี้ทำอย่างไรเราจะมาช่วยกันส่งเสริมหรือจัดทำให้ดี อย่าให้ใครติเตียนได้ว่า ขนาดสิ่งที่มีอยู่แล้วในสังคม เราก็ยังไม่สามารถทำให้ดีได้จะคอยแต่ตื่นสิ่งใหม่ แล้วสิ่งใหม่นั้นต่อไปก็คงไม่ได้เรื่องอีก ...

LanguageThai
Sourcefrom ธรรมกถา ปาฐกถา for ชาวธรรมะร่วมสมัย at วัดญาณเวศกวัน on/in 19 July 2544
Renamed from ทัศนะของพระพุทธศาสนา ต่อสตรีและการบวชเป็นภิกษุณี
Development
  • เดิมชื่อ "ทัศนะของพระพุทธศาสนา ต่อสตรีและการบวชภิกษุณี" ซึ่งเคยพิมพ์มาแล้วหลายครั้ง และได้นำเรื่องที่พูดใหม่เมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๔๔ มารวมด้วย เพิ่มขึ้นเป็นตอนที่ ๑ และเลื่อนเรื่องเดิมที่ตอบคำถามในปี ๒๕๔๑ ไปเป็นตอนที่ ๒ พร้อมกับตั้งชื่อใหม่ว่า "ปัญหาภิกษุณี : บททดสอบสังคมไทย"
First publishing 2544
Latest publishing onPublishing no. 3 March 2545
ISBN974-344-152-2, 974-409-113-4
Dewey no.BQ4570.W6

หนังสือที่เกี่ยวข้องกัน

Found matched 4 books
The content of this site, apart from dhamma books and audio files, has not been approved by Somdet Phra Buddhaghosacariya.  Such content purpose is only to provide conveniece in searching for relevant dhamma.  Please make sure that you revisit and cross check with original documents or audio files before using it as a source of reference.