Length ๐:๓๗:๕๒
Language | Thai |
---|---|
In CD | ธรรมมีลำดับ ๒๕๕๑ |
Abstract | [21:21] อันนี้ก็หมายความว่าให้เปลี่ยนวัตถุประสงค์ที่การรู้จักงาน ว่ามันมีขึ้นด้วยเหตุผลอย่างนี้ เพื่อประโยชน์สุข ของชีวิต ของสังคม แล้วคนเห็นคุณค่านี้แล้วก็มาจัดสรรระบบสังคมโดยแบ่งงานกันทำ โดยให้คนที่ทำงานเรื่องไหน ทำเรื่องไหนดีก็ทำเรื่องนั้น แล้วก็ให้ผลตอบแทน…ถ้าจิตใจมันเข้าใจตามแนวนี้ มันจะไม่แปลกแยก จะไม่มีความรู้สึกแปลกแยก หนึ่ง-ไม่เบื่องานด้วย แล้วก็จะทำงานด้วยความตั้งใจและขยันหมั่นเพียร คนที่จะทำงานนั้นก็คือคนที่ถนัดมีความสามารถ ใจรัก เป็นต้น ---------------------------------- [25:38] เวลานี่คนไม่รู้เหตุผลในทางที่เป็นจริง กับเหตุผลที่ปรุงแต่งของมนุษย์ แยกไม่ออก เหตุผลตามธรรมชาติกับเหตุผลตามสมมติที่มนุษย์ยอมรับกัน เดี๋ยวนี้มนุษย์หลงแล้วนะ แปลกแยกจากธรรมชาติ นึกเหตุผลที่ตัวสมมติขึ้น วางขึ้นมาที่ไม่เป็นความจริงเลยว่าเป็นจริงอย่างนั้นเลย ---------------------------------- [02:24] ประเด็นคำถาม [05:29] 1. ความสำคัญของเศรษฐศาสตร์กับพระพุทธศาสนา [07:50] 2. ข้อจำกัดของเศรษฐศาสตร์แห่งยุคอุตสาหกรรม [13:24] 2.1 จับจุดผิด มองความโลภเป็นสิ่งที่ดี เลยต้องห้ามสอนสันโดษ [17:34] 2.2 ทำงานเพราะโลภอยากได้ หรือเพราะถูกเงื่อนไขบังคับ [25:15] 2.3 เหตุผลตามธรรมชาติ vs เหตุผลตามสมมติที่มนุษย์ [32:51] 3. บูรณาการในระบบสัมพันธ์ของธรรมชาติ |
from Talk to Navaga for พระนวกะ at วัดญาณเวศกวัน | |
Preceding Clip | จิต-วัตถุ กับ นาม+รูป วิทยาศาสตร์-พุทธศาสตร์ จะตีตกหรือจะเติมเต็ม |
Next Clip | ทบทวนเศรษฐศาสตร์ ๒ - พัฒนาเศรษฐกิจไป อย่าลืมใช้เศรษฐกิจพัฒนาคน |