จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

 ...สภาพชีวิตจิตใจของคนในสังคมอเมริกันปัจจุบัน มีสถานภาพที่เป็นปัญหาสำคัญ เนื่องจากบุคคลไม่ได้รับการสนองความต้องการพื้นฐานทั้ง ๓ อย่าง คือ ความต้องการความหมาย (Need for community, structure and meaning) โดยมีอาการแห่งความทุกข์แบบต่างๆ ปรากฎออกมา...

...ประการที่ ๑ คือ มีความรู้สึกว้าเหว่โดดเดี่ยว...
..วิธีแก้ปัญหาสำหรับคนที่อ้างว้างว้าเหว่โดดเดี่ยว ที่ได้พูดออกมาเป็นตัวอย่างนั้น ว่าโดยสรุปแบบง่ายๆ สามารถใช้วิธีปฏิบัติที่แยกเป็น ๓ ขั้นตอน คือ
  • คนอื่นในสังคมที่เป็นคนเต็มภายในแล้ว มาช่วยเป็นกัลยาณมิตรแก่เขา หรือสังคมเป็นกัลยาณมิตร ในขั้นนี้เขายังมีความพึ่งพาผู้อื่นอยู่มาก
  • ตัวเขาเองรู้จักเลือกหากัลยาณมิตร คือรู้จักคบคน หรือแหล่งที่เป็นกัลยาณมิตร ในขั้นนี้เขาเริ่มรู้จักพึ่งตนเอง และมีทิศทางที่แน่นอน
  • บุคคลนั้นรู้จักคิดรู้จักพิจารณาด้วยตนเอง เป็นอยู่อย่างรู้เข้าใจเท่าทันโลกและชีวิต ในขั้นนี้เขาเป็นอิสระพึ่งตนเองได้แล้ว

LanguageThai
Sourcefrom ธรรมเทศนา for เพื่อการถ่ายทำวิดีทัศน์ สำหรับนิสิตในโครงกรรฝึกปฏิบัติทางจิตตามแนวพุทธศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตอน "จิตวิทยากับการเจริญภาวนา" at สถานพำนักสงฆ์สายใจธรรม เขาสำโรงดงยาง อ. พนมสารคาม จ. ฉะเชิงเทรา on/in 28 August 2534
Developmentพิมพ์ครั้งแรก ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ร่วมอุทิศกุศลในพิธีทักษิณานุประทาน สัตตมวาร นายสำราญ อารยางกูร

พิมพ์ครั้งที่ ๒ (ปรับปรุงเพิ่มเติม) มีนาคม ๒๕๓๕
กองทุนศาสตราจารย์ ดร.อุบล เรียงสุวรรณ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พิมพ์ครั้งที่ ๓ (ปรับปรุงเพิ่มเติม) เมษายน ๒๕๓๕
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ร่วมอุทิศกุศลในงานพระราชทานเพลิงศพ พระพรหมคุณาภรณ์ วัดพระนารายณ์มหาราช จ.นครราชสีมา

พิมพ์ครั้งที่ ๔ (ปรับปรุงเพิ่มเติม) เมษายน ๒๕๓๕
ทุนส่งเสริมพุทธธรรม
First publishingFebruary 2535
Latest publishing onPublishing no. 19 May 2562
ISBN9747890-53-4, 974-553-011-5
Dewey no.BQ4570.P76
The content of this site, apart from dhamma books and audio files, has not been approved by Somdet Phra Buddhaghosacariya.  Such content purpose is only to provide conveniece in searching for relevant dhamma.  Please make sure that you revisit and cross check with original documents or audio files before using it as a source of reference.